Kaya Calendar
สวัสดี news.kwunk.br.foodtesting.7791@blogger.com
nama-khandoker-1560@pages.plusgoogle.com เชิญคุณเข้าร่วมกลุ่ม พระปิฎกธรรม ข้อความจาก nama-khandoker-1560@pages.plusgoogle.comตามเรื่องที่ได้ เพื่อให้เชื่อมโยงความที่พัฒนาข้อมูลได้ แล้วให้ทำสมบูรณ์รุดหน้าข้อมูลฉะนั้น ได้ในไม่ช้า โดยตลอด หรือมิเช่นนั้นแล้ว ทุกคนทุกท่าน พึงแต่จงพิจารณา ตามสติปัฏฐานนั้นบ้างเถิด หากว่าไม่คิดจะเทียบความ ตามชั้นความอะไร มาจากหนังสือนี้
Google Groups ช่วยให้คุณสร้างและมีส่วนร่วมในฟอรัมออนไลน์และกลุ่มที่ติดต่อกันทางอีเมลเพื่อเพิ่มประสบการณ์ในการมีส่วนร่วมกับชุมชน อีกทั้งยังใช้ Groups เพื่อแชร์เอกสาร รูปภาพ ปฏิทิน คำเชิญ และทรัพยากรอื่นๆ ได้อีกด้วย ดูข้อมูลเพิ่มเติม
หากไม่ต้องการเป็นสมาชิกของกลุ่มนี้หรือเชื่อว่ากลุ่มนี้อาจมีสแปม คุณจะรายงานกลุ่มนี้เรื่องการละเมิดได้ โปรดไปที่ศูนย์ช่วยเหลือเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
หากไม่ต้องการให้เพิ่มคุณลงใน Google Groups ในอนาคต คุณจะเลือกไม่เข้าร่วมได้ที่นี่
**************************
////////////////////////////////////
ที่ส่งความคิดเห็น อธิบายสิ่งประดิษฐ์ นั้น
ที่อยู่ ⁶⁵⁰⁹ ⁰⁰⁰⁴⁰⁴ ⁸
เดี๋ยวนี้ตามหลักฐานกันแล้ว ว่าเครื่องสะดวก เอไอ เทคโนโลยี ไม่ทำงานก็คงจะทุกข์ ทีนี้ ก็คงจะได้ชัดเจนกันดี ว่า ทำไม! บทพระธรรมบท จึงว่า ใจ เป็นสรรพสิ่ง (คือ วัตถุ) สรรพสิ่ง คือ ใจ
อันเราว่าจบบทหลัก ๆ ว่ากันอยู่เรื่อย ๆ จะไม่จำใส่ใจไว้เลย ไม่ได้, เพราะว่าใจ ถึงบทแก่ปฐวีธาตุ คือสรรพสิ่ง เพราะใจถึงแก่บทอาโปธาตุ คือสรรพสิ่ง เพราะใจถึงแก่บทวาโยธาตุ คือสรรพสิ่ง และเพราะใจถึงแก่บทเตโชธาตุ คือสรรพสิ่ง, หากเราไม่ตกภวะ จะเป็น ก็แสดงว่า เราไม่สนิทแน่นดี ไม่เป็นอันเดียวกับทางเพ่ง ถึงธรรมที่ควรเพ่ง, อันเดี๋ยวนี้ เทคโนโลยีประณีตกว่าคนไปหมดแล้ว ตัวจักรผันนั้น มันเหมือนว่าได้เข้ามาในชีวิต ให้ชีวิตของคนได้เป็นอนุยนต์ แก่สรีระจักร ธรรม! อันอย่างนั้นเลยทีเดียว เพราะธรรมจักร ต่อ ๆ ไป ก็ย่อมจะเป็นอันที่ ๑¹ อยู่ไปกับเทคโนโลยี (เอไอ ¹··· การเทียบเคียง)
สิ่งของจึงมา เข้าสู่ทางน่าภิรมย์สมปอง น่าปรารถนา มากไปกว่า เมือก เหงื่อ หรือขี้ไคลตามตัวของเรา, นั่น ก็คงจะเทคโนโลยีเหมือนกัน สิ่งต่าง ๆ ซึ่งเรา ก็ไม่รู้จักจะชอบ อะไร ๆ หลายอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบันนี้นักหรอก เพราะว่าเราเหนื่อยคิด อันตัวจะหาเหตุผลไปเกี่ยวให้ได้ จึงสรุปไปว่า ขอไม่ห่วงจะชอบ หรือห่วงว่าจะรู้จักใช้อะไรนัก เพราะควรรังเกียจ, ถ้าให้พิจารณาถึงความน่าเกลียดของตนเองด้วยแล้ว ก็ยิ่งไม่ค่อยอยากใช้ ตามแต่คำจะจำว่า พระพุทธะธรรมคำสอน ที่ท่านประทานบอก ว่าคนอยู่กับผ้าแพรกาสี มีพรมหรือผ้าห่มสวย ๆ หรือของประดิษฐ์อันประณีตต่าง ๆ ท่านว่า อันว่าของเหล่านั้นเอง ดีอยู่ แต่ครั้งพอมาถูกกันกับร่างกายของคน ก็ต้องให้กลายเป็นน่าเกลียด ติดกันไปกับความน่าเกลียด ในตัวมนุษย์ เพราะตัวคนเรามีสิ่งโสโครก มีปฏิกูล มีแต่ประมาณของความน่ารังเกียจ เกาะรวมตัวกันอยู่ ผิดไปจากความสวยความงาม ความประณีตบรรจง ของสิ่งของล้ำค่า อันที่น่าใช้สอยเหล่านั้น อย่างนั้น
นั่น อย่างนั้น วิธีออกจากความจะได้ จะเอา โดยไม่ต้องอาศัยความเข้ากันได้ หรือไม่เข้ากันได้ของระบบ เครื่องมือ, เราว่าเดี๋ยวนี้ โดยมาก ตัวเราไม่ค่อยกลัวเสีย ไม่ค่อยกลัวระบบอะไรจะปฏิเสธ
เพราะว่าเราเองคิดเห็นความน่ารังเกียจของตนเองดี คือสำคัญได้บ้าง ตามพระธรรมคำสอน ว่าวัตถุข้าวของ ย่อมเป็นธรรมดาว่า ไม่มีความน่ารังเกียจ เป็นโดยมาก เป็นแต่คนนั้นไปเกี่ยว เกี่ยวทีไหน ของนั้นจึงน่ารังเกียจ ทีนั้น, เพราะว่าคนมีความน่าเกลียด เช่นความเน่าเหม็น และเหงื่อไคล อันมีอยู่ตามปกติ เป็นต้น, เหมือนอย่างเสื้อผ้าสิ่งดียี่ห้อแพง ๆ อย่างนี้ เป็นต้น นำมาห่อเลือด ห่อไคล ห้อมหุ้ม ห่ออุจจาระปัสสาวะ ตามสิ่งของนั้นก็สกปรกไปตามสิ่งที่ห่อ, ฉะนั้น เราไม่คิดอยากให้อะไรเกลียดกับอะไร อะไรไม่เข้ากับอะไร ก็ไม่ดี ควรจะดีที่สุด ควรที่สิ่งไม่เกลียดกับสิ่งเกลียดกับคน หรือรังเกียจกัน, ฉะนั้น เราจึงเห็นควรว่า ทุก ๆ คน ทั้งเราด้วย เราพึงอยู่แต่กับภูตะธาตุ อยู่กับ ดิน น้ำ ไฟ ลม เป็นต้นไป ก็จึงจะถึงที่สบายใจกว่า แล้วก็จึงจะได้ ไม่ต้องเวียนตนเองไปเป็นเศษขยะ ป้วนเปี้ยนอยู่กับสิ่งล้ำค่า อะไร ๆ ให้ต้องเหน็ดเหนื่อย อันจะได้
ยกความกรวดน้ำ ว่าแต่คนเฒ่าคนแก่ โดยยกความเฉพาะ ก็จึ่งเวียนแต่จะเตือนฉะนั้น นั่นเอง คือท่านเตือนว่า อย่าประพฤติตบะแบบปิดทวาร ไปเสียจนสุดขั้ว แต่พอรู้จัก แล้วก็พึงถอยออกจากตบะชนิดนั้น อันแต่จะอำนวยการดับไฟ และปิดน้ำ ให้ภาวะโลกต้องกันดารด้วยอันสาเหตุมิควร แต่ทว่าแค่จะมันอารมณ์ในการปิดทวารฉะนั้น จนถึงชั้นอัศจรรย์ ,
แล้วที่นี้ ฝ่ายบ้านเมือง คือพระราชา พระจักรวรรดิวัตร ประพฤติฝ่ายปล่อย ประพฤติฝ่ายซ่าน นั่นเอง ก็เตือนประพฤติต่อกันด้วยการ ขอทางให้เปิดทวาร ให้ได้เกิดภาวะน้ำไหลไฟสว่าง ด้วย , เพราะว่าจะถึงที่แล้ง แห้งเหือดด้วยพืชพรรณ ธัญญาหาร นั้น จะควรที่ไหน , ทีนี้ พระท่านก็เพลาจากการปิดทวาร ในทางพลังมโนทวาร ฉะนั้น ผ่อนปรนลงบ้างชั้น๑ หรือบ้างก็ลดห้วงเวลาที่จะปิด
จดหมาย Khao ลายสือไทย:
เรื่อง ของพระศาสนา ดังกล่าวแล้ว นั้น (เพราะพระองค์มิทรงต้องอุบัติด้วยเหตุนั้น) เมื่อไหร่นั้น ทุกเมื่อ ก็ปรากฏว่ามีแต่ พระพุทธญาณ คือพุทธธรรม (ที่เป็นอัญญาณ=เป็นความรู้) เป็นแหล่งเร้าเรียน สืบเรื่อง เพื่อบรรณพิภพ นับกาลใด มีพิบัติแต่กัป อันต้องด้วยหมู่ธรรมแห่งดารานักษัตรนั้น ต้องแตกดับด้วยธรรม คือการพินาศ [*]
สรรพาลังการ Thai ศัพท์:
[*] ถ้าเกิดความชิดชอบ แต่ความจริงแห่งพระปัจเจกธรรม อะไร ๆ ก็มิย่อมต้องอันตรธานไป แต่เพราะเป็นจริงโดยโวหาร และพูดกลับไปกลับมา เช่นกล่าวได้ว่า‘อันตรธานเพราะมีปัจเจกฯ (มีกัปว่าง) มีปัจเจกฯธรรมศาสนาจึงอันตรธาน (แต่ว่าได้มีพระพุทธธรรม คือมีพระพุทธปัจเจก ฉะนั้นนั่นเอง)’, เรื่อง ตัวบท ก็คือการว่ายักเยื้อง หลอนหลอกธรรมมายาเพื่อจะดำเนินการงานในทางทฤษฎีบท ไปให้ได้ คือการให้ไปทำความเจริญในแต่ละเรื่อง ได้ , เปรียบก็คือ ดั่งการมีอัญประกาศ อัญญะ หรือตัวอัญญาณ รู้ดี ก็คือ รู้ประกาศ (โองการ) ลงส่วนการขีดเขียนเส้นใต้ก็คือ พระสยัมภู หรือพระปัจเจกธรรม ผู้เป็นธรรม เปรียบคือนั่นคือผู้ขีดเส้นใต้ คือธรรมผู้ที่คัดเอาส่วนที่ลอยเด่น สืบต่อการวัฒนาดี มาทำ หรือจะลบให้ ส่วนที่เลือนลางหมดพานภาระ หมดธุระแล้ว ก็ต้องลบไป , เรื่อง ก็ย่อมจะเห็นอยู่แล้วว่า พระพุทธเจ้าทำไม่ได้ (คือทรงทำให้อันตรธานเองไม่ได้) เพราะว่าตัวทฤษฎีบท แสดงอธิบายอยู่แล้วว่า ธรรมหรือภูมิ (โดยเปรียบแก่ภูมิสถานหนึ่ง ๆ) ที่พระพุทธเจ้าผู้ศาสดาจะไม่ไปอุบัติ นั้น คือในกัปว่าง และในพรหมอนาคามีพรหมโลก เป็นต้น เป็นอาทิ คือแน่นอนว่า (ตรงนี้ย่อมแปลว่า ผู้ศาสดาศาสนาไม่สามารถ เพราะด้วยวิสัยแห่งสัตว์ผู้เป็นพระพุทธเจ้าเอง คือไม่อาจเสื่อมทราม หรือดีได้ ด้วยภูมิหรือเหตุ นั้น) ที่นั่นจึงแทบไม่จำเป็นเลย ด้วยอัญญาณรู้ ตามแบบ ของผู้เป็นศาสดา เพราะว่าธรรมให้เป็นไปแล้วโดยความเป็นธรรม คือไม่ต้องมีศาสดา , ซึ่งตาม จริง ๆ แท้ ๆ แล้ว ความเรื่องนี้สับสน และยิ่งสับสนมาก แต่ว่ามิได้สับสนตรง พระพุทธเจ้า และพระพุทธปัจเจก ว่าจะอย่างไร? แต่ว่าที่สับสน ก็คือ ในนัยที่พระพุทธเจ้ามิทรงต้องไปอุบัตินั่นเอง เรื่องนี้ ควรยกเปรียบ แต่เรื่องความอึมครึม ลึกลับ ลี้ลับ และความลัพธ์ที่ไม่กลมเกลียวกัน ในระหว่างภิกษุ และภิกษุณี
จึงเป็น ความน่าสนใจ ๑, ๒, และ ๓ และ ก็ต้องว่า (อาหารอันตรธาน) ภิกษา ๑ ภิกษุ ๑ ภิกษุณี ๑ คือแน่ว่า ย่อมตกเป็นนัย? แก่ความอันตรธานอย่างไร? ๆ ทั้งหมด โดยลึกกว้าง โดยความ แต่ว่าตลอดในวิตถารนัย ด้วยกันหมดทั้งนั้น แล้วบทเป็นธรรม ย่อมมีเรื่อง คือย่อมหารือไปได้ว่า ไม่มีอัญญาณรู้ อันใด จะกล่าวความไว้ด้วยนัยธรรมดาเลย อย่างแน่นอน (จะคงเว้นแต่พรหมกุมาร หรือพรหมกุมารากุมารีอนาคามี นั่นเอง ซะก่อน) เพราะการไม่ธรรมดาแก่อาหาร ในโลก ฉะนั้น ก็ย่อมไม่มีใครรู้ว่าจะเป็นอย่างไร? (เพราะที่ ๆ มิทรงต้องดำเนินซึ่งการอุบัติด้วย ก็มีอยู่) ดั่งนี้ ก็น่าคิดว่า ความแท้จริง คงจะเป็นอันตรธานไปด้วย เพราะคนไม่ต้องมีอาชีพอะไรอีกต่อไปนั่นเอง ซึ่งก็ฟังดูน่าเหลือเชื่อ แต่ฉะนั้น กระนั้น ทุกท่านก็จงลองจินตนาการดูเถิด ไปเมื่อสมัยที่เครื่องจักรกลประมวลผล ไปโดยจักร แล้วก็จักทำได้ ด้วยเครื่องประมวลประมาณไปตามการนั้นเอง ลงกระทำกิจภาระธุระทุกอย่างให้มนุษย์ได้ ซึ่งเงินทองทรัพย์สินสิ่งของ ก็เท่ากับว่า ไม่จำต้องมีด้วยการงาน (ตามที่ปฏิญาณ) และไม่ต้องมีอาชีพ (ที่ปฏิญาณ) อันเรื่อง! ก็น่าจะเท่ากับว่า ศัพท์! คำว่า ‘ภิกษา คืออาหาร’ นี้ได้ที่อันตรธาน หมดไปแล้ว (หมดอาหารชนิดนั้น เปรียบคือไม่ต้องหาอาหาร) และต่อมาก็ เรื่อง ภิกษุ ภิกษุณี โดยนัย โดยลำดับ ก็ย่อมต้องอันตรธาน ซึ่งก็อันตรธานไปด้วย เพราะเหตุนี้ , แล้วนั้น จะคงเหลือมาก็แต่ผู้พุทธบริษัทอื่น ๆ ทั่วไป โดย ผู้มิต้องด้วยการอุบัติ ของพระพุทธศาสดา
ที่ส่งความคิดเห็น?
ยกความกรวดน้ำ ว่าแต่คนเฒ่าคนแก่ โดยยกความเฉพาะ ก็จึ่งเวียนแต่จะเตือนฉะนั้น นั่นเอง คือท่านเตือนว่า อย่าประพฤติตบะแบบปิดทวาร ไปเสียจนสุดขั้ว แต่พอรู้จัก แล้วก็พึงถอยออกจากตบะชนิดนั้น อันแต่จะอำนวยการดับไฟ และปิดน้ำ ให้ภาวะโลกต้องกันดารด้วยอันสาเหตุมิควร แต่ทว่าแค่จะมันอารมณ์ในการปิดทวารฉะนั้น จนถึงชั้นอัศจรรย์ , น้ำหยุดไหล ไฟดับแล้วหมด
แล้วที่นี้ ฝ่ายบ้านเมือง คือพระราชา พระจักรวรรดิวัตร ประพฤติฝ่ายปล่อย ประพฤติฝ่ายซ่าน นั่นเอง ก็เตือนประพฤติต่อกันด้วยการ ขอทางให้เปิดทวาร ให้ได้เกิดภาวะน้ำไหลไฟสว่าง ด้วย , เพราะว่าจะถึงที่แล้ง แห้งเหือดด้วยพืชพรรณ ธัญญาหาร นั้น จะควรที่ไหน , ทีนี้ พระท่านก็เพลาจากการปิดทวาร ในทางพลังมโนทวาร ฉะนั้น ผ่อนปรนลงบ้างชั้น๑ หรือบ้างก็ลดห้วงเวลาที่จะปิด
มาบัดนี้ แล้วถึงเปิด -ปิด โดยคำศัพท์ ก็อีก ว่า จะจัดอย่างไร? เพื่อจะให้เห็นหนักเบาเหล่านี้ ซึ่งประโยชน์ที่จะเขียนไป นัยด้วยสภาการศึกษา แลการกำหนดอยู่ซึ่งธรรม อันที่ดี ที่ให้ ปรารภแล้ว ฉะนั้น , ซึ่งทำอะไรไปอย่างไรก็ถูก คือย่อมถูกโรคแก่ความจะพัฒนาเอกสาร ให้ดี , แต่ทว่า ก็หนัก
คือว่าเรื่องหนัก อยู่โดยชั้นตำรา อันว่าหนังสือตรวจทานอ่านเทียบ แลด้วยแด่ความ จะให้ได้ไปจวบกระทั่งถึงกระบวน ที่ได้ ในชั้นภาษา ที่ทุกภาษาจะแสดงได้ เพราะพอความแต่อุบายวิธีจะให้เจริญดี ด้วยวงงานศึกษามีดี ด้วยการทำเครื่องมือคืออินเทอร์เน็ต ที่เป็นบทประกันในการทำดี โดยทางหนังสือตำรา มากทฤษฎี แล้วหมด ด้วยการกระทำการทอดโยง จรด กระทั่ง ให้เกิดการส่งผ่านความเจริญ ไปได้
////////////////////////////////////
**************************
|
จิตนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้วอย่างนี้ ด้วยอำนาจแห่งวัตถุ ต่างกัน และอารมณ์ต่างกัน. แต่จิตนี้ บัณฑิตย่อมได้ในวัตถุเดียวกัน ด้วย อำนาจแห่งอารมณ์ที่ต่างกัน. ถามว่า ได้อย่างไร ตอบว่า เพราะในปัจจัย ๔ อย่าง เฉพาะในจีวร (เอกวัตถุ) บัณฑิตย่อมได้อารมณ์ ๖ อย่าง. จริงอยู่ สีแห่งจีวรที่ย้อมใหม่ เป็นสีที่ชอบใจ น่าดู นี้ เรียกว่า มีสีเป็นอารมณ์. อนึ่ง ในเวลาใช้สอยย่อมส่งเสียงดังปฏะปฏะ นี้เป็นสัททารมณ์. ในผ้านั้น มีกลิ่น เปลือกไม้ไทรดำเป็นต้น นี้เป็นคันธารมณ์. อนึ่ง รสารมณ์ ท่านกล่าวไว้ ด้วยสามารถแห่งรสคือการใช้สอย. ในผ้านั้นมีสัมผัสเป็นสุข นี้เป็นโผฏฐัพพารมณ์. สุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะอาศัยจีวร นี้เป็นธรรมารมณ์. รสารมณ์ บัณฑิต ย่อมได้ในบิณฑิตโดยนิปปริยาย (โดยตรง) ทีเดียว. บัณฑิตทำการประกอบ จิตในปัจจัย ด้วยสามารถแห่งอารมณ์ต่าง ๆ อย่างนี้แล้วพึงทราบความต่างกัน แห่งจิต |
没有评论:
发表评论